prapassorn blog
วันเสาร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2554
การใช้งาน Windows 7
มีอะไรใหม่ใน Windows 7
แอพพลิเคชัน Taskbar ใหม่
แถบงานที่ด้านล่างของหน้าจอของคุณมีไว้สำหรับให้คุณได้เปิดใช้งานโปรแกรม และสลับไปยังหน้าโปรแกรมต่างๆ ในขณะที่เปิดใช้งานโปรแกรมเหล่านั้น ใน Windows 7 คุณสามารถตรึงโปรแกรมใดก็ตามไว้กับแถบงานเพื่อให้สามารถเปิดใช้ได้ในคลิ กเดียวอยู่เสมอ และคุณสามารถจัดเรียงไอคอนต่างๆ บนแถบงานได้โดยเพียงแค่คลิกและลาก เราได้ทำให้ไอคอนเหล่านี้มีขนาดใหญ่มากขึ้น เพื่อให้ใช้งานได้ง่ายมากยิ่งขึ้น เมื่อเลื่อนเมาส์ผ่านไอคอน คุณจะเห็นรูปขนาดย่อของแฟ้มทุกแฟ้มหรือหน้าต่างที่เปิดในโปรแกรมนั้น และหากคุณเลื่อนเมาส์ผ่านรูปขนาดย่อ คุณจะเห็นการแสดงตัวอย่างของหน้าต่างนั้นแบบเต็มหน้าจอ เมื่อเลื่อนเคอร์เซอร์ออกจากรูปขนาดย่อ การแสดงตัวอย่างแบบเต็มหน้าจอก็จะหายไป
รายการ Shortcut
Windows 7 จะเลือกนำเสนอสิ่งที่คุณใช้งานบ่อยที่สุดมาไว้ตรงหน้าคุณ ยกตัวอย่างเช่น: ฟีเจอร์ใหม่อย่างรายการ Shortcut คุณลักษณะนี้ให้ความสะดวกในการเข้าถึงแฟ้มต่างๆ ที่คุณกำลังใช้งานอยู่ หากต้องการดูแฟ้มที่คุณใช้งานเมื่อเร็วๆ นี้ คุณก็เพียงแค่คลิกขวาที่ไอคอนโปรแกรมบนแอพพลิเคชันTaskbar ของคุณ ดังนั้น เมื่อคุณคลิกขวาที่ไอคอนโปรแกรม Word คุณจะเห็นรายการเอกสาร Word ล่าสุดที่คุณเปิดทำงานปรากฏขึ้นมา นอกจากนี้ หากมีไฟล์อื่นๆ ที่คุณต้องการความสะดวกในการเรียกใช้งาน คุณยังสามารถตรึงแฟ้มเหล่านั้นไว้กับรายการทางลัดได้ เพื่อให้ไฟล์เหล่านั้นปรากฏขึ้นอยู่เสมอ เมื่อทำเช่นนี้ คุณจะสามารถเข้าถึงเอกสารที่คุณต้องการได้เพียงคลิกไม่กี่ครั้ง
และสำหรับบางโปรแกรม เช่น Windows Media Player สามารถ import งานทั่วไปล่วงหน้าไปยังรายการ Shortcut ได้ ยกตัวอย่างเช่น ในรายการทางลัดสำหรับ Windows Media Player คุณจะเห็นตัวเลือกให้เล่นเพลงทั้งหมดหรือตัวเลือกทำให้รายการที่จะเล่นล่า สุดของคุณกลับมาทำงานต่อ ในรายการทางลัดสำหรับ Internet Explorer คุณจะเห็นรายการเว็บไซต์ที่เข้าชมบ่อยและเว็บไซต์ที่เข้าชมเมื่อเร็วๆ นี้ ในบางโปรแกรม คุณสามารถทำได้แม้กระทั่งเข้าถึงงานแบบด่วน โดยงานนั้นเคยเป็นงานที่เปิดได้เฉพาะภายในโปรแกรมเท่านั้น เช่น การเขียนข้อความอีเมลใหม่
วันจันทร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
cpu multi-core
ข้อมูลและลักษณะทั่วไปของซีพียู Multi-Core
แต่ก่อน CPU เป็นลักษณะของชิป(chip) ที่ภายในมีหน่วยประมวลผลอยู่หน่วยเดียวต่อมาความต้องการความสามารถในการประมวลผลมีมากขึ้นก็เริ่มมีการพัฒนาความเร็วของซีพียู (CPU) ให้มากขึ้นไปเรื่อยๆให้พอต่อความต้องการ เมื่อความเร็วนั้นพัฒนาขึ้นมากจนยากที่จะทำต่อไปได้จึงมีการนำ CPU มาใช้เทคนิคให้สามารถประมวลผลได้มากขึ้น เราเรียกว่าไฮเปอร์เทรดดิ้ง(Hyper-Threading) การทำงานแบบไฮเปอร์เทรดดิ้ง ยังมีข้อเสียหลายประการและเทคโนโลยีซีพียู จึงพัฒนามาสู่ยุคของซีพียูแบบหลายหน่วยประมวลผลหรือที่เรียกว่า (core) ซึ่งทำให้การพัฒนาสมรรถนของซีพียูเป็นไปอย่างก้าวกระโดด
ภาพของซีพียูแบบดูอัลคอร์
ข้อดี
1. การดีไซน์ซีพียูแบบมัลติคอร์ทำให้แคชของแต่ละคอร์ออกแบบมาให้แคบอยู่ใกล้กันกับซีพียูทำให้สัญญาณที่สิ่งระหว่างแคชไปที่ซีพียูนั้นเป็นไปอย่างรวดเร็ว
2. ในแต่ละที่ประกอบไปด้วยซีพียูและแคชนั้นอยู่ใกล้กันมากดังนั้นจึงมีการเพิ่มเทคโนโลยีที่ชื่อว่า Cache coherency ซึ่งเป็นการทำให้ข้อมูลในแต่ละแคชนั้นเข้าถึงกันได้ สามารถแบ่งงานกันโหลดได้ระหว่างหน่วยประมวลผล
3. เนื่องจากมัลติคอร์ใช้พื้นที่ของแผงวงจรน้อยกว่า ทำให้มีสมรรถนะสูงกว่า ขณะที่อัตราการใช้พลังงานยังคงอยู่ในระดับเดียวกันเมื่อเทียบกับซีพียูแบบเดิม นอกจากนั้น ระบบจัดการความร้อนที่เล็กลงทำให้ใช้ไฟน้อยลงด้วย จึงช่วยประหยัดพลังงาน แต่ความร้อนกลับน้อยลง เพราะมัลติคอร์ ไม่ได้ใช้งานทุกคอร์ตลอดเวลา
4. ราคาลดต่ำลงมาเรื่อยๆ จนในตอนนี้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลใหม่ๆก็เริ่มทยอยกันใช้ซีพียูแบบดูอัลคอร์กันหมดแล้ว ภายใน Chip CPU นั้นมีหน่วยประมวลผลย่อย ที่เราเรียกว่าคอร์มากกว่า แต่ละคอร์มีหน่วยความจำหลักเป็นของตัวเอง เรียกว่าแคชระดับที่1 หรือ L1(Cache L1)แต่ละแกนอาจจะมีการใช้หน่วยความจำร่วมกันเรียกว่าแคช L2 การเข้าถึงข้อมูลที่อยู่ภายในแคช L1 นั้นสามารถทำได้รวดเร็วกว่าการเข้าถึง แคช L2 หรือการเข้าถึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก แต่การออกแบบโครงสร้างซีพียูนั้น จะต้องมีส่วนที่ทำงานร่วมกันได้ด้วย เพื่อที่จะทำให้สามารถประมวลผลร่วมกันได้ซึ่งส่วนที่จะทำงานร่วมกันก็คือแคช L2 นั่นเอง
รูปที่ 6 ภาพแสดงโครงสร้างของ Cache coherency
(http://en.wikipedia.org/wiki/Multi-core, 2007)
ความแตกต่าง
Dualcore กับ core2duo คือ cpu dualcore ที่คล้ายๆกัน จะต่างกันก็เรื่องการผลิตและเทคโนโลยีภายในcpu รวมไปถึงbus cpu , cache memory,การใฃ้พลังงานของcpu และอื่นๆ quad core ก็คือcpuที่มี4coreใน1ตัว ซึ่งได้เปรียบไนแง่การประมวลผลแบบmultitask รวมทั้งcachememoryที่มากกว่า ทำให้สามารถประมวลผลได้รวดเร็วและได้จำนวนมากๆในเวลาอันสั้น
วันอาทิตย์ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
วิวัฒนาการของ CPU ของ Intel
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
นับตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบันจะพบว่าคอมพิวเตอร์มีวิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงไปมากทั้งทางด้านฮาร์ดแวร์และทางด้านซอฟต์แวร์ เพื่อให้ทันสมัยและรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ สำหรับการเปลี่ยนแปลงทางด้านฮาร์ดแวร์นั้นได้มีวิวัฒนาการหรือการเปลี่ยนแปลงดังนี้
ปี ค.ศ. 1981 ได้ผลิตเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นไอบีเอ็มพีซีขึ้น โดยบริษัทอินเทล ในรุ่นนี้ใช้ CPU เบอร์ 8088 ซึ่งถือว่าเป็นต้นกำเนิดของเครื่องพีซีนปัจจุบัน
ภายในใหม่ ให้มีขนาดเล็ก ลงและ ทำ งานรวดเร็วขึ้น แต่ยังคงใช้ CPU เบอร์ 8088ของอินเท ล เครื่องรุ่นนี้สามารถติดตั้งฮาร์ดดิสก์ได้มีการเปลี่ยนไปจากเดิม คื อ 8 เซกเตอร์ต่อแทรก เป็น 9 เซกเตอร์ต่อ แท รกทำให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้นเป็น 360 กิโลไบต์
ปี ค.ศ. 1985 ได้พัฒนาเป็นรุ่นไอบีเอ็มพีซีเอที (IBM PC/AT) ในรุ่นนี้ได้เปลี่ยนไปใช้ CPU เบอร์ 80286 ซึ่งเป็นตัวใหม่ของบริษัทอินเทลในการเก็บข้อมูลก็มีการเพิ่มฮาร์ดดิสก์ ให้มีความจุเพิ่มขึ้นเป็น 20 เมกะไบต์ ฟลอปปี้ดิสก์ก็สามารถเก็บข้อมูลได้ถึง 1.2 เมกะไบต์ ทำให้มีประสิทธิภาพสูงและทำงานเร็วกว่ารุ่นไอบีเอ็มเอ็กซ์ที
ปีต่อมา ได้พัฒนาเป็นเครื่องมือที่ใช้ไมโครโพรเซสเซอร์เบอร์ 80386 ของอินเทล ซึ่งมีขนาด 32 บิต และมีประสิทธิภาพสูงกว่าเครื่องเอทีมาก แต่ก็มีปัญหาหนึ่งของเครื่อง 386 คือระบบปฏิบัติการและแอพพลิเคชั่นที่ผ่านมาถูกพัฒนาขึ้นมาบนเครื่องพีซีธรรมดาเท่านั้น โปรแกรมเหล่านั้นจึงไม่สามารถใช้ความสามารถของ ซีพียู80386 ไดร์ เต็มที่นักจะมีก็แต่ความเร็วที่สูงขึ้นเท่านั้น
ปัจจุบัน บริษัท อินเทล ได้พัฒนาเครื่องพีซี 586 (Pentium) ขึ้นมา เพื่อการใช้งานกับแอพพลิเคชั่นบนวินโดวส์โดยเฉพาะและรองรับความเร็วของซีพียูได้ สำหรับในปัจจุบัน รุ่นนี้เป็นรุ่นที่กำลังได้รับความนิยมในการทำงานค่อนข้างสูง
แหล่งอ้างอิง hunsa.com ,www.overclockzone.com
รหัส ASCLL
PRAPASSORN SOMSAK
ใช้พื้นที่ 17 ไบต์ จัดเก็บและประกอบด้วย รหัส ASCLL
P 0100 0001 = 41H
R 0101 0010 = 52H
A 0100 0001 = 41H
P 0100 0001 = 41H
A 0100 0001 = 41H
S 0101 0011 = 53H
S 0101 0011 = 53H
O 0100 1111 = 4FH
R 0101 0010 = 52H
N 0100 1110 = 4EH
space (ช่องว่าง) = 0010 0000=20H
S 0101 0011 =53H
O 0100 1111 =4FH
M 0100 1101 =4DH
S 0101 0011 =53H
A 0100 0001 =41H
K 0100 1011 =4BH
ใช้พื้นที่ 17 ไบต์ จัดเก็บและประกอบด้วย รหัส ASCLL
P 0100 0001 = 41H
R 0101 0010 = 52H
A 0100 0001 = 41H
P 0100 0001 = 41H
A 0100 0001 = 41H
S 0101 0011 = 53H
S 0101 0011 = 53H
O 0100 1111 = 4FH
R 0101 0010 = 52H
N 0100 1110 = 4EH
space (ช่องว่าง) = 0010 0000=20H
S 0101 0011 =53H
O 0100 1111 =4FH
M 0100 1101 =4DH
S 0101 0011 =53H
A 0100 0001 =41H
K 0100 1011 =4BH
Moore’s Law
Moore’s Law
กฎของมัวร์ (Moore ’s law) อธิบายโดย กอร์ดอน มัวร์ (Gordon Moore) อดีตซีอีโอและผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทลกล่าวถึง ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม จะเพิ่มเป็นเท่าตัวทุกสองปี
เรามาดูกฎของมัวร์ หรือ Moore ’s Law กันน่ะค่ะว่ามันคืออะไร คือกฏที่อธิบายแนวโน้มของการพัฒนาฮาร์ดแวร์ของคอมฯในระยะยาว โดยมีความว่า จํานวนทรานซิสเตอร์ที่สามารถบรรจุลงในชิพจะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า ในทุกๆสองปีค่ะ ซึ่งกฎนี้ได้ถูกตั้งชื่อตาม Gordon E. Moore ผู้ก่อตั้ง Intel ซึ้งเขาได้อธิบายแนวโน้มนี่ไว้ในรายงานของเขาในปี 1 1965 และเมื่อเวลาผ่านไปจึงพบว่ากฎนี่นั่นแม่นยําอย่างประหลาด อาจเกิดเนื่องจาก อุตสาหกรรมsemiconductor ได้นํากฎนี่ไปเป็นเป้าหมายในการวางแผนพัฒนาอุตสาหกรรมของตนก็เป็นได้ค่ะ
กฎของมัวร์จะเป็นไปได้หรือ?
จากความก้าวหน้าของการพัฒนาสารกึ่งตัวนำที่รวดเร็ว พัฒนาทางด้านคอมพิวเตอร์จะไม่ถึงขีดจำกัดบ้างหรือ คำถามนี้เป็นคำถาม ที่หลายคนตั้ง
อย่างไรก็ดี หากพิจารณาถึงความเป็นจริง ทุกสิ่งทุกอย่างไม่อยู่กับที่ กฎของมัวร์ก็เช่นกัน คงไม่ใช่เป็นกฎแบบอยู่กับที่ กฎของมัวร์ก็เช่นกัน คงไม่ใช่เป็นกฎแบบอยู่กับที่ แต่จะเปลี่ยนแปลงกับสภาพกาลเวลาด้วย
แต่ด้วยความสามารถของมนุษย์ในการคิดค้นต่าง ๆ จึงเชื่อมั่นว่าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายยังมีหนทางที่พัฒนาไปได้อีกมาก
มนุษย์กับไซเบอร์สเปซ และคนกับหุ่นยนต์ ที่อยู่ร่วมกันจะได้เห็นอย่างแน่นอนค่ะ
เอกสารอ้างอิง:www.wegethosting.com
ซัมซุงเปิดตัว"เน็ตบุ๊ค"พลังแสงอาทิตย์
รายงานข่าวล่าสุด ซัมซุง (Samsung) ยืนยันว่า ทางบริษัทจะเปิดตัวเน็ตบุ๊คพลังงานแสงอาทิตย์ในสหรัฐ พร้อมๆ กับในแอฟฟริกา และรัสเซีย โดย Samsung NC215S จะวางตลาดในวันที่ 3 กรกฎาคม ศกนี้ค่ะ
Samsung NC215S เน็ต บุ๊คพลังงานแสงอาทิตย์ที่มาพร้อมกับหน้าจอเคลือบด้านขนาด 10.1 นิ้ว ความละเอียด 1024 x 600 พิกเซล หน่วยความจำระบบ 4GB และซีพียูดูอัลคอร์ Intel Atom N570 ความเร็ว 1.66GHz โดยนอกจากสเป็กเครื่องที่น่าสนใจแล้ว มันยังมีคุณสมบัติใหม่ที่ทำให้ Samsung NC215S แตกต่างจากเน็ตบุ๊คทั่วไปนั่นคือ มันมีแผงโซลาร์เซลที่ฝังมาในฝาเครื่องค่ะ
Samsung กล่าว ว่า หากเราชาร์จแบตฯโน้ตบุ๊ครุ่นนี้ผ่านทางแผงโซลาร์เซลล์เป็นเวลา 2 ชั่วโมง เราจะสามารถใช้งานโน้ตบุ๊คได้นานหนึ่งชั่วโมง ในขณะที่ทางบริษัทอ้างว่า หากชาร์จแบตฯเต็ม Samsung NC215S จะสามารถใช้งานเครื่องได้นานถึง 14 ชั่วโมง (ภายใต้เงื่อนไขการใช้แบบประหยัดไฟสุดๆ) เลยทีเดียว ว้าว!!! น่าสนใจทีเดียวเลยน่ะค่ะ
แหล่งอ้างอิง:Samsung,www.tvwaimun.com
Samsung กล่าว ว่า หากเราชาร์จแบตฯโน้ตบุ๊ครุ่นนี้ผ่านทางแผงโซลาร์เซลล์เป็นเวลา 2 ชั่วโมง เราจะสามารถใช้งานโน้ตบุ๊คได้นานหนึ่งชั่วโมง ในขณะที่ทางบริษัทอ้างว่า หากชาร์จแบตฯเต็ม Samsung NC215S จะสามารถใช้งานเครื่องได้นานถึง 14 ชั่วโมง (ภายใต้เงื่อนไขการใช้แบบประหยัดไฟสุดๆ) เลยทีเดียว ว้าว!!! น่าสนใจทีเดียวเลยน่ะค่ะ
แหล่งอ้างอิง:Samsung,www.tvwaimun.com
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)